ศิลปินญี่ปุ่นผู้หลงรักเมืองไทยและไหปลาร้า

1089 0

(ภาษาญี่ปุ่น) (โมโมโกะ) ที่บ้านโมโมโกะซัง
จะทำเซรามิกใช่ไหมคะ อะไรอย่างนี้ (บรรยายหญิง)
คนญี่ปุ่นพูดไทยได้ชัดมีไม่น้อย คนญี่ปุ่นที่เล่าเรื่องสนุก ๆ
เกี่ยวกับเมืองไทยได้ อาจมีน้อยลงไปอีกหน่อย

[หัวเราะ]

ขำก่อน แล้วคุณแม่บอกว่า อ๋อ เจอแล้ว… แล้วตัดเลย
เปิดออกแล้วแบบ… เงิน เก็บเงินในผ้าห่ม แม่ไม่เชื่อเลยนะคะ
ธนาคารไม่เชื่อเลย (บรรยาย) แล้วคนญี่ปุ่น
ที่ชอบกินปลาร้าล่ะ อันนี้น่าจะหายาก มารู้จักคุณโมโมโกะ
ศิลปินชาวญี่ปุ่น ผู้หลงรักเมืองไทย และไหปลาร้า จนนำไปวาดเป็นหนังสือภาพขายดี
ในญี่ปุ่นกันค่ะ
(ภาษาญี่ปุ่น) ใช้ศิลปะเชื่อมต่อไทยกับญี่ปุ่นนะคะ

[เสียงดนตรี]

(ภาษาญี่ปุ่น) (ฟูจิ) สวัสดีครับ
คนนิจิวะ (ภาษาญี่ปุ่น) (บรรยาย) ไหนว่าไปญี่ปุ่นยังไม่ได้ ทำไมฟูจิเซ็นเซไปบ้านคนญี่ปุ่นล่ะคะ อย่างไรกันนะ

[หัวเราะ]

(ภาษาญี่ปุ่น) ลูก ๆ รู้จักกันด้วย (บรรยาย) อ้าว ๆ ไม่ใช่แล้ว เอ๊ะ อย่างไร ตกลงนี่คนไทยหรือคนญี่ปุ่นคะ แล้วเมืองไทยหรือญี่ปุ่นกันแน่ เรายังไม่เฉลย มาดูดีกว่าว่า พวกเขามาทำอะไรกัน

[เสียงดนตรี]

โอ้ นี่เซรามิกที่เขาเผามา
เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างนี้แล้ว ดูสิ (ฟูจิ) ของใครของมัน – แล้วก็ไปถ่ายรูปไว้
– ใช่ค่ะ
ของจริงมันเป็นอย่างนี้ ที่เธอปั้นมาเป็นอย่างนี้ เสร็จแล้วพอเผาออกมา
จะเป็นอีกรูปร่างหนึ่ง เลยจำไม่ได้ อ๋อ นี่ไง ส่วนที่เป็นสีแดงกลายเป็นสีเทา 14 ชิ้น ดูภาพนะ ที่เธอทำมากับเวลาเผาออกมาจริง (ภาษาญี่ปุ่น)

[หัวเราะ]

เธอบอกนะครับ
ว่า ขนาดถ่ายรูปยังจำไม่ได้เลย นี่บอกว่าทำ 14 ชิ้นนะครับ
ตอนนี้เหลือเท่าไร 1 2 3 4 5 6 7… 14
แต่เหลือ 7 หายไปไหน – ธรรมดาขนาดจะใหญ่กว่านี้
– ใช่ค่ะ
20 เปอร์เซ็นต์ (ภาษาญี่ปุ่น) (บรรยาย) เฉลยก็ได้ค่ะ
ว่า… นี่คือชุมชนคนญี่ปุ่นที่มาอาศัยอยู่เชียงใหม่ค่ะ
และเจ้าของบ้านที่ให้เหล่าแม่บ้านญี่ปุ่น มาเรียนทำเซรามิกกัน ก็คือแขกรับเชิญของเราในวันนี้ คุณโมโมโกะ ศิลปินชาวญี่ปุ่นค่ะ
เสร็จภารกิจต้อนรับกลุ่มแม่บ้านแล้ว ได้คิวของดูให้รู้แล้วละค่ะ

[เสียงดนตรี]

– ที่ทำงานของคุณโมโมโกะทางนี้หรือครับ

– ค่ะ
– ไหว้พระ
– ค่ะ
ไหว้ – ไหว้พระ
– ไหว้พระ คุณโมโมโกะนับถือศาสนา… – พุทธหรือครับ

– ค่ะ
อย่างนี้หรือครับ

[เสียงดนตรี]

คุณโมโมโกะเชื่อศาสนาพุทธ – แบบไทย ๆ หรือครับ

– ค่ะ
เป็นอย่างไรหรือครับ
และพอไปวัด แล้วเป็นอย่างไรครับ
– ไปวัดและไปไหว้
– ใช่ค่ะ
แล้วลูกก็เลยหายไข้ (บรรยาย) ไม่น่าเชื่อ
แต่ก็ต้องเชื่อนะคะ นี่คือความศรัทธาที่เกิดขึ้น
จากประสบการณ์จริงค่ะ

นอกจากนี้
ยังมีเรื่องที่เป็นประสบการณ์น่ารักมากมาย จากการที่คุณโมโมโกะย้ายมาอยู่เมืองไทย อย่างเช่นเรื่องนี้ค่ะ
หมายถึงว่าคุณโมโมโกะ เข้าไปโรงเรียนไทย
แต่เป็นโรงเรียนเด็ก – ไปเรียนกับเด็ก ป.1
– ใช่ค่ะ
แล้วผู้ใหญ่ไปเรียนกับเด็ก ป.1 เด็กก็จะตกใจสิครับ
โต๊ะเล็กเลย เรียนหนังสือ ก้นใหญ่ ก็เลยคับ แบบนี้ก็คือโรงเรียนของไทยเปิดใจมาก
ถ้าเป็นที่ญี่ปุ่นไม่ให้ผู้ใหญ่ไปเรียนกับเด็กแน่นอน จุดเริ่มต้นของการที่จะสื่อสารกับเด็กได้ – ก็คือมีแมว
– ใช่ค่ะ
เมื่อมีแมวเลย คล้าย ๆ กับว่า… – เป็นแบบตัวทำให้สื่อสารให้คนเข้าใจได้ง่าย
– ใช่ค่ะ
นี่เป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนแมวในนี้หมดเลย อยากรู้ไหมครับ

ว่าเธอใช้วิธีไหนในการเรียนภาษาไทย นี่ไงครับ
(ภาษาญี่ปุ่น) โอ้ ก็คือการเขียนรูปแมว แล้วเด็ก ๆ ก็สนใจ แล้วมาพูดภาษาไทยด้วยกันกับคุณโมโมโกะ นี่คือหนังสือ 20 ปีก่อนใช่ไหมครับ
(ฟูจิ) แล้วมีภาษาไทยอยู่ มันหมายถึงอะไรครับ
แมวรับประทานอาหาร – อ๋อ ก็คือนี่ใส่คำอ่านเป็นภาษาญี่ปุ่น
– ค่ะ
รับประทาน… – วันนั้นได้…
– เขียนได้แค่นี้ คือแบบว่าเด็ก ๆ เป็นอาจารย์ให้ – เช็กเลยว่าอันนี้…
– ค่ะ
คุณโมโมโกะพูดว่าอย่างไร พูดว่าอย่างไร ๆ แล้วภาษาไทยที่ยาก ๆ ที่เรียนมา สำเนียงยาก ๆ หรือพูดยาก ๆ มีอะไรไหมครับ
เหมือนกันเลย มา หม่า ม่า ม้า หมา ตอนแรกเหมือนกันหมดเลย (บรรยาย) เก่งมากเลยค่ะ
เทียบเสียงแบบไทยได้ขนาดนี้เลย ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ นะคะ คนไทยบางคน อาจจะยังสับสนเรื่องนี้กันอยู่เลยค่ะ
ไม่ใช่แค่เรียนรู้ภาษาไทยนะคะ ในช่วงแรกที่มามีครอบครัวกับสามีชาวไทย คุณโมโมโกะก็ต้องเรียนรู้ปรับตัว
ให้เข้ากับอาหารไทย แม้
แต่ปลาร้าค่ะ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) ยิ่งฟังก็ยิ่งสนุก เรามานั่งคุยกันจริงจังเลยดีกว่าค่ะ
คุณโมโมโกะบอกว่ามาเที่ยวเมืองไทย และก็มาหาเพื่อนคนไทยเมื่อ 24 ปีก่อน ซึ่งเพื่อนกำลังเรียนเกี่ยวกับการทำเซรามิกอยู่ ก็เลยไปเรียนด้วยค่ะ
(บรรยาย) จากเหตุการณ์ตอนนั้น ก็เริ่มหลงรักเมืองไทยเลยค่ะ
เพราะว่าเป็นคนเรียนศิลปะอยู่แล้ว และที่แน่ ๆ ที่คนญี่ปุ่นร้อยทั้งร้อย
มักจะชอบคนไทยตรงนี้ ก็คือความสบาย ๆ อะไรก็ได้ค่ะ
อ๋อ เอาอาหารมาให้ผิด สมมติว่าเราสั่งข้าวผัด
แต่เอาแกงเขียวหวานมาให้ (บรรยาย) จากวันนั้นเมื่อ 24 ปีก่อน ทั้งเรียนทำเซรามิก สั่งข้าวผัดได้แกงเขียวหวาน เรียนรู้นิสัยใจคอความเป็นคนไทย ทำไปทำมาหลงรัก จนเรียนเซรามิกจริงจังที่เมืองไทย
อยู่กับเพื่อนถึง 5 ปี พอถึงปีที่ 5 นี่แหละค่ะ
ที่ทำให้ชีวิตเปลี่ยน เพราะอยากจะมีอุปกรณ์
ทำเตาเซรามิกเป็นของตัวเอง ก็เลยหาคนช่วยทำเตาให้ ซึ่งนั่นเป็นเหตุ
ให้ได้พบกับคุณลูกกา สามีชาวไทยค่ะ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) และเมื่อได้เรียนรู้สังคม
วิถีชีวิตคนไทยมาก ๆ เข้า ก็เลยอยากเผยแพร่ให้คนญี่ปุ่นได้รู้ด้วยค่ะ
ซึ่งในฐานะที่เป็นศิลปินวาดรูปอยู่แล้ว จึงถ่ายทอดออกมาให้ถูกใจคนญี่ปุ่น
ได้ไม่ยากนะคะ (ฟูจิ) ของฝากของขวัญจากประเทศไทย

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย)
นอกจากนี้คุณแม่สามี ก็ยังมีเรื่องพฤติกรรมสนุก ๆ ที่คุณโมโมโกะไม่เคยเห็น ไม่เคยรู้มาก่อนอีกมากมายเลยละค่ะ
– ซื้อหวยด้วย
– ใช่ (ฟูจิ) ใส่แป้ง ขำก่อน (ฟูจิ) ไปนอนบ้านคุณแม่ กระดาษอยู่ในผ้าห่ม (บรรยาย) ฟังเพลินมากเลยนะคะ หลาย ๆ เรื่องที่คุณโมโมโกะเล่ามา ได้รับการถ่ายทอดลงในหนังสือเล่มนี้ด้วยค่ะ
และก็พิมพ์ขายในญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันขายหมดแล้วนะคะ (ฟูจิ) หนังสือนี้เขียนไปแล้ว ต้องการสื่ออะไร ให้กับคนญี่ปุ่นหรืออย่างไรครับ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) คุยกันไปได้นิดหน่อย
คุณโมโมโกะไม่ว่างแล้วค่ะ
เพราะต้องสอนศิลปะให้เด็ก ๆ ในละแวกนี้ ซึ่งเป็นคนกันเองทั้งนั้นค่ะ
และเป็นการสอนให้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย สิ่งที่ได้คือมิตรภาพค่ะ
สอนศิลปะเด็ก ๆ มีจุดเป้าหมายอย่างไรครับ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) เราลองมาถามเพื่อนชาวญี่ปุ่น ที่อยู่เมืองไทยเหมือนกันว่า… ทำไมถึงให้ลูก ๆ มาเรียนกับคุณโมโมโกะค่ะ
– สวัสดีครับ

– สวัสดีค่ะ
– ยินดีที่ได้รู้จักครับ

– ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
รู้จักคุณโมโมโกะได้อย่างไรครับ
(ฟูจิ) ไม่มีโอกาสได้ฝึกภาษาญี่ปุ่นกับคนอื่น ทำไมไม่ให้ไปเรียนที่โรงเรียนญี่ปุ่นครับ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) ภายใต้สังคมใหญ่
ของเมืองไทยที่พวกเขารัก ก็มีสังคมย่อย ๆ ในหมู่คนญี่ปุ่นกันเอง ที่จะทำให้ไม่ต้องคิดถึงบ้านในญี่ปุ่นจนเกินไปนะคะ (ฟูจิ) คุณโมโมโกะเขียนภาพนี้ให้ผม อันนี้มันหมายถึงอะไรครับ
(ฟูจิ) เชียงใหม่เป็นที่ที่เลือกอยู่เพราะว่าอะไรครับ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย)
แต่ไม่ใช่ว่ามาอยู่เมืองไทยนานแล้ว จะไม่ได้มีผลงานอะไรที่ญี่ปุ่นเลยนะคะ ทุก ๆ ปี คุณโมโมโกะ
จะไปจัดแสดงงานศิลปะที่ญี่ปุ่น ซึ่งทำมา 16 ครั้งแล้ว
แต่ว่าปีนี้เพราะมีเหตุการณ์โควิด-19
ก็เลยต้องงดไปค่ะ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) คุณโมโมโกะบอกว่า การมีครอบครัว มีลูก
ทำให้ชีวิตมีเป้าหมายมากยิ่งขึ้น คือต้องทำอะไรเพื่อใครอย่างจริงจัง ทำให้มีผลงานออกมาได้ทุกปีค่ะ
เราอยากรู้ต่อไปว่า
แล้วพอมามีเหตุการณ์โควิด-19 นี้ ทางครอบครัวของเธอได้รับผลกระทบอะไรบ้างคะ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) ใคร ๆ ก็ต้องปรับตัวนะคะ ในสถานการณ์แบบนี้
แต่เธอก็คิดว่าเป็นช่วงเวลาที่ดี ที่จะได้สะสมผลงานไว้ให้ได้มาก ๆ เพราะตอนนี้มีเวลาทำงานเยอะเลยค่ะ
ซึ่งก็ไม่แน่ว่าในอนาคต อาจจะมีผลงานมากพอ ที่จะได้แสดงเดี่ยวเลยก็ได้นะคะ ในสถานการณ์แบบนี้
ยอดขายก็อาจจะไม่ดีหรืออาจจะตก แล้วจะทำอย่างไรต่อครับ

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) ต่อจากการสอนศิลปะเด็ก คุณโมโมโกะจะสาธิตการทำเซรามิกให้เราดูค่ะ
แถมสอนฟูจิเซ็นเซด้วยนะคะ จะสนุกแค่ไหน ตามไปกันเลยค่ะ
เป็นมาอย่างไร ทำไมถึงชอบการปั้นแบบเซรามิก หรือเป็นศิลปินครับ
– ไหนขอผมทำดูได้ไหม
– ลองดูไหม มือต้องนิ่งใช่ไหมครับ
(ฟูจิ) เคล็ดลับคือมือนิ่ง โอ้ สบาย – นิ้วโป้งจับไป
– ใช่ ๆ เดี๋ยวก่อน ๆ โอ้โฮ…

[เสียงดนตรี]

(บรรยาย) น่าสนุกนะคะ
แต่เวลาหมดแล้วค่ะ
เราคุยกันมาตั้งนาน คุณโมโมโกะพูดถึงคุณลูกกา ซึ่งเป็นสามีก็ตั้งหลายหน อยากเห็นแล้วใช่ไหมล่ะคะว่า… คุณลูกกา หนุ่มไทยที่กุมหัวใจสาวญี่ปุ่น
ผู้น่ารักคนนี้ไว้ได้ จะหน้าตาเป็นอย่างไรกันนะ ต้องรอดูในตอนหน้าแล้วละค่ะ
รวมทั้งคุณโมโมโกะกับครอบครัว จะทำอาหารให้ฟูจิเซ็นเซชิมด้วย จะเป็นอะไร อดใจรอกันหน่อยนะคะ พบกับดูให้รู้ได้ใหม่ในครั้งหน้า ดูให้รู้ รู้ให้ลึก สวัสดีค่ะ
นี่ปลาร้าชิมไหมคะ (โมโมโกะ) หอมไหมคะ
(ลูกกา) คล้าย ๆ กะปิไหมครับ
(ลูกกา) คล้าย ๆ กะปิไหม

Related Post

Leave a comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *